Page 5 - index
P. 5
5
2.3 แนวทางในการจัดท าแผนยุทธศาสตร์
ื่
1. การรับฟังความคิดเห็นของผู้รับบริการ / ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่มีต่อ สศค. เพอน ามาปรับเป็น
SWOT จากภายนอก โดยใช้แบบสอบถามความคิดเห็น
- สศค. มีบันทึกสอบถามไปยังหน่วยงานที่เป็นผู้รับบริการ / ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เพื่อเปิด
้
โอกาสให้ผู้ตอบแบบสอบถามแสดงความคิดเห็น และขอแนะน าต่างๆ ทั้งนี้ ระยะเวลาด าเนินการประมาณ 2 - 3
สัปดาห์ เพื่อจัดท าและขออนุมัติแบบสอบถาม ส่งให้ผู้รับบริการ / ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย พร้อมทั้งตอบกลับ
2. การรับฟังความคิดเห็นของบุคลากรภายใน สศค. เพื่อวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และภัย
คุกคาม (SWOT) จากภายใน โดยใช้แบบสอบถามความคิดเห็น
- การจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ : โดยจะเชิญผู้รับบริการ/ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมาให้ความคดเห็น
ิ
ถึงสถานะปัจจุบันของ สศค. และทิศทางที่ สศค. ควรจะเป็น ทั้งนี้ ระยะเวลาด าเนินการประมาณ 2 สัปดาห์ เพื่อ
เตรียมการ และส่งบันทึกเชิญยคุลการภายในเข้าร่วม
- แบบสอบถามแสดงความคิดเห็น : มีบันทึกสอบถามไปยังหน่วยงานต่างๆ ภายใน สศค.
เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้ตอบแบบสอบถามแสดงความคิดเห็น และข้อแนะน าต่างๆ ทั้งนี้ ระยะเวลาด าเนินการประมาณ
2 - 3 สัปดาห์ เพื่อจัดท าและขออนุมัติแบบสอบถาม ส่งให้บุคลากรภายใน พร้อมทั้งตอบกลับ
3. น าข้อมูลที่ได้มาสังเคราะห์ และจัดท าเป็น SWOT ของ สศค. ระยะเวลาของขั้นตอนนี้ประมาณ
1 – 2 สัปดาห์
4. จัดประชุมเชิงปฏิบัติการผู้บริหารของ สศค. เพื่อก าหนดทิศทางขององค์กร โดยพิจารณา
องค์ประกอบจาก SWOT ทั้งจากภายในและภายนอก แผนบริหารราชการแผ่นดิน และแผนยุทธศาสตร์
กระทรวงการคลัง (ประมาณ 2 -3 สัปดาห์) โดยก าหนดขั้นตอนการด าเนินการ มีดังนี้
ก าหนดวิสัยทัศน์ (Vision) สิ่งที่ สศค. ต้องการให้เป็นเพื่อบรรลุพันธกิจได้ครบถ้วนทุกข้อ หรือมี
ความเป็นเลิศในด้านใด
กรอบหรือทิศทางการด าเนินงานของ สศค. ซึ่งต้องก าหนดกรอบให ้
ก าหนดพันธกิจ (Mission) ชัดเจนว่าพันธกิจมีความครอบคลุมขอบเขตการด าเนินงานอย่างไร
ประเด็นหลักที่ สศค. ต้องค านึงถึง ต้องการพัฒนา ต้องการมุ่งเน้น ซึ่งสามารถน า
ก าหนดประเด็นยุทธศาสตร์ พันธกิจมาพิจารณาว่าจะด าเนินการตามพันธกิจข้อใดเป็นพิเศษ และหลังจาก
(Strategy Issue) ด าเนินงานดังกล่าวแล้ว สศค. จะเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางใด และในการจัดท า
ประเด็นยุทธศาสตร์ต้องค าถึงแผนบริหารราชการแผ่นดิน และแผนยุทธศาสตร์
กระทรวงการคลังด้วย