Page 2 - index
P. 2

1



                  แนวคิด

                                                          ั
                         ความสอดคล้องกับเป้าหมายการพฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) แห่งสหประชาชาตินั้น ส านักงาน
                  สภาพฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติก าหนดให้หน่วยงานเชื่อมโยงโครงการหรือการด าเนินการ
                       ั
                  ในสองระดับ ได้แก่ ระดับที่ 1) ระดับเป้าหมาย (Goals) ของ SDGs ที่มีความสอดคล้อง รวมถึงต้องอธิบาย

                  ความสอดคล้องดังกล่าว ระดับที่ 2) ระดับเป้าหมายย่อย (Targets) ของ SDGs ที่มีความสอดคล้อง รวมถึงต้อง

                  อธิบายความสอดคล้องดังกล่าว โดยรายละเอียดของ SDGs มีดังต่อไปนี้

                                       ั
                          เป้าหมายการพฒนาที่ยั่งยืน หรือ SDGs คือชุดของเป้าหมายระดับโลก 17 เป้าหมาย (Goals) และ
                  ภายใต้เป้าหมายจะประกอบไปด้วยเป้าหมายย่อย (Targets) ที่ประเทศสมาชิกสหประชาชาติทั้งหมดได้ร่วมกัน
                  ก าหนดให้มีการน ามาใช้ ซึ่งริเริ่มขึ้นในปี พ.ศ. 2558 และมีระยะเวลาของเป้าหมายอยู่ที่ 15 ปี หรือเริ่มต้นที่

                  ปี พ.ศ. 2559 และไปสิ้นสุดที่ปี พ.ศ. 2573 โดยเป็นส่วนหนึ่งของ “วาระการพัฒนาที่ยั่งยืนปี 2573” SDGs
                                                                                                  ั
                                      ื่
                  ได้รับการออกแบบมาเพอตอบสนองต่อความท้าทายโลกต่างๆในระดับโลก รวมถึงส่งเสริมการพฒนาที่ยั่งยืน
                  ในมิติเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม โดยเป้าหมายทั้ง 17 เป้าหมาย มีรายละเอียด ดังนี้

                  เป้าหมายที่ 1: การยุติความยากจนในทุกรูปแบบทั่วโลก ในทางปฏิบัติคือ การใช้ระบบการคุ้มครอง

                  ทางสังคม การให้สิทธิที่เท่าเทียมกัน และการเข้าถึงบริการและทรัพยากรขั้นพื้นฐานส าหรับทุกคน

                  เป้าหมายที่ 2: การยุติความหิวโหย และบรรลุความมั่นคงทางอาหาร ในทางปฏิบัติคือ การปรับปรุงโภชนาการ

                  ให้มีความเหมาะสม ส่งเสริมการท าเกษตรกรรมแบบยั่งยืน ให้การสนับสนุนเกษตรกรรายย่อย สนับสนุน
                  การเข้าถึงแหล่งอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการ และการจัดการต้นตอของความหิวโหย


                  เป้าหมายที่ 3: การสร้างหลักประกันด้านสุขภาพที่ดี ในทางปฏิบัติคือ การให้ความส าคัญกับความเป็นอยู่ที่ดี
                  กับคนทุกเพศทุกวัย ซึ่งรวมถึงความพยายามในการลดการตายของแม่และเด็ก การรับมือกับโรคติดต่อ และ

                  จัดให้มีการเข้าถึงบริการด้านสุขภาพอย่างทั่วถึง

                  เป้าหมายที่ 4: การศึกษาที่มีคุณภาพ ในทางปฏิบัติคือ การสร้างหลักประกันด้านการศึกษาที่มีคุณภาพ

                  ครอบคลุม เท่าเทียม และส่งเสริมโอกาสการเรียนรู้ตลอดชีวิตส าหรับทุกคน

                  เป้าหมายที่ 5: การบรรลุความเท่าเทียมทางเพศ ในทางปฏิบัติคือ การเพิ่มบทบาทให้ผู้หญิงและเด็กผู้หญิงทุกคน


                  เป้าหมายที่ 6: การมีน้ าสะอาดและสุขาภิบาล ในทางปฏิบัติคือ การบริหารจัดการน้ าให้มีสุขาภิบาลอย่างยั่งยืน
                  ส าหรับทุกคน


                  เป้าหมายที่ 7: การพลังงานสะอาดที่เข้าถึงได้ ในทางปฏิบัติคือ การสร้างหลักประกันการเข้าถึงพลังงานสะอาด
                  ในราคาที่เข้าถึงได้ น่าเชื่อถือ ยั่งยืน และทันสมัยส าหรับทุกคน


                  เป้าหมายที่ 8: การจ้างงานที่มีคุณภาพ และการเติบโตทางเศรษฐกิจ ในทางปฏิบัติคือ ส่งเสริมให้เกิด
                  การเติบโตทางเศรษฐกิจที่ยั่งยืน ครอบคลุม และการจ้างงานเต็มที่และมีประสิทธิผล
   1   2   3   4   5   6   7